พิธีเปิดโอลิมปิคเกมส์ลอนดอน (Olympic games 2012 London)
(คลิปอยู่ด้านล่างของบทความครับ)
มีข้อถกเถียงกันถึงความยิ่งใหญ่ใน พิธีเปิดโอลิมปิกเกมส์ 2012 ที่ลอนดอน เปรียบเทียบกับโอลิมปิกเกมส์ 2008 ที่ปักกิ่ง ผมขออนุญาตินำความเห็นของ Ai Weiwei แห่ง The Guardian มาให้พวกเราได้อานนะครับ มาดูว่าชาวจีนเขาคิดกันอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิกบ้านตัว เองเมื่อปี 2008 กับพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิกเกมส์ 2012 ที่ลอนดอนครับ
Olympic opening ceremony:
Ai Weiwei’s reviewThe leading Chinese artist who withdrew from Beijing’s opening ceremony explains why London’s was very different
พิธีเปิดโอลิมปิก:
รีวิวสืโดย:Ai Weiweiศิลปินชั่นแนวหน้าของจีนซึ่งถอนตัวออกจากพิธีเปิดปักกิ่งเกมส์ ได้อธิบายว่าทำไมพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิกเกมส์ 2012 ที่ลอนดอนถึงได้สร้างความต่างได้อย่างมากมายนัก
Brilliant. It was very, very well done. This was about Great Britain; it didn’t pretend it was trying to have global appeal. Because Great Britain has self-confidence, it doesn’t need a monumental Olympics. But for China that was the only imaginable kind of international event. Beijing’s Olympics were very grand – they were trying to throw a party for the world, but the hosts didn’t enjoy it. The government didn’t care about people’s feelings because it was trying to create an image.
มันเป็นอะไรที่ยอดเยี่ยม ทำได้ดี และดีมาก นี่เป็นเรื่องราวของเกรทบริเตน (Great Britain) ไม่ใช่เป็นแค่การแสร้งทำเพื่อให้ชาวโลกหันมามอง เพราะว่าเกรทบริเตน มีความมั่นใจในตนเอง ไม่จำเป็นจะต้องสร้างความยิ่งใหญ่ให้โอลิมปิกกลายเป็นอนุสรณ์แต่อย่างได แต่สำหรับประเทศจีนนั้น พิธีเปิดโอลิมปิกมันเป็นอีเวนต์เดียวในระดับนานาชาติเท่าที่ผู้คนพอจะนึกออก โอลิมปิกที่ ปักกิ่งนั้นยิ่งใหญ่มาก จีนพยายามที่จะทำให้เป็นงานรื่นเริงของชาวโลก แต่ผู้จัดก็ไม่ได้พอใจกันมันนัก รัฐบาลไม่ได้สนใจต่อความรู้สึกผู้คน เพราะพวกเขาก็แค่ต้องการสร้างภาพ
In London, they really turned the ceremony into a party – they are proud of themselves and respect where they come from, from the industrial revolution to now. I never saw an event before that had such a density of information about events and stories and literature and music; about folktales and movies.
ในลอนดอน, พวกเขาเปลี่ยนพิธีเฉลิมฉลองให้ กลายเป็นงานรื่นเริง พวกเขามีความภูมิใจในตัวเอง และให้ความสำคัญกับรากเหง้าของตนเอง ตั้งแต่สมัยปฏิวัติอุตสาหกรรม จนกระทั่งปัจจุบัน ฉันไม่เคยเห็นมาก่อน ที่การจัดงานครั้งไหนที่ประกอบไปด้วยสาระอันแน่นแฟ้น เกี่ยวกับเหตุการณ์, เรื่องราว, เรื่องทีผู้คนกล่าวขานกันมา, ดนตรี, และภาพยนต์ รวมกัน
At the beginning it dealt with historical events – about the land and machinery and women’s rights – epically and poetically. The director really did a superb job in moving between those periods of history and today, and between reality and the movies. The section on the welfare state showed an achievement to be truly proud of. It clearly told you what the nation is about: children, nurses and a dream. A nation that has no music and no fairytales is a tragedy.
ในช่วงเริ่มต้น เป็นการนำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ด้วยบทกวีและเรื่องราวเกี่ยวกับแผ่นดิน เครื่องจักร และสิทธิสตรี ผู้กำกับประสพความสำเร็จอย่างยอดเยี่ยม ในการเคลื่อนผ่านเรื่องราวระหว่างยุคที่เป็นประวัติสาสตร์ และความเป็นปัจจุบัน และระหว่างเรื่องราวความเป็นจริงกับเรื่องราวในภาพยนต์ มันคือความยิ่งใหญ่ที่ผู้คนจะภาคภูมิใจ และมันเป็นการแสดงที่จะบอกคนดูได้อย่างชัดเจนว่าความเป็นประเทศอังกฤษคือ อะไร ซึ่งมันก็เกี่ยวกับ เด็กๆ, การใส่ใจกับความรู้สึกผู้คน, และความฝันของผู้คน ประเทศไหนที่ไม่มีดนตรี ไม่มีนิยายแฟรี่เทล นับว่าเป็นประเทสที่น่าเศร้าสุดๆ
There were historical elements in the Beijing opening ceremony, but the difference is that this was about individuals and humanity and true feelings; their passion, their hope, their struggle. That came through in their confidence and joy. It’s really about a civil society. Ours only reflected the party’s nationalism. It wasn’t a natural reflection of China.
ในพิธีเปิดปักกิ่งเกมส์ มันก็มีส่วนประกอบที่เป็นเรื่องราวทางประวัติศาสตร์อยู่เหมือนกัน แต่มันแตกต่างตรงที่ พิธีเปิดโอลิมปิกเกมส์ที่ นี่(ที่ลอนดอน) มันเกี่ยวกับเรื่องของบุคคล มวลมนุษยชาติ ความรู้สึก สิ่งที่ผู้คนหลงไหล ความฝันของพวกเขา การต่อสู้ดิ้นรนของพวกเขา ซึ่งได้ส่งผ่านออกมาในความเชื่อมั่นและความสุขของพวกเขา มันเป็นเรื่องราวจริงๆของผู้คนในอังกฤษ ในขณะที่พิธีเปิดที่จีนมันก็เป็นแค่งานรื่นเริงระดับชาติ ไม่ได้สท้อนถึงรากเหง้าของประเทศจีนเลย
Few of the people were performers. They were ordinary people who contribute to society – and if there is a celebration, then it should be for everyone from the Queen to a nurse. I feel happy that they can all have their moment to tell their story.
It was about real people and real events and showed the independent mind of the director, but at the same time it had so much humour. There was a strong sense of the British character.
ใช้คนแสดงน้อยมาก, พวกนักแสดงก็เป็นคนธรรมดาๆ ที่อาสามาทำงานให้กับส่วนรวม และเมื่อมีการเฉลิมฉลอง มันก็ควรจะเป็นการฉลองของทุกๆคนตั้งแต่พระราชินีจนถึงรากหญ้า ฉันรูัสึกดีที่ได้เห็นพวกเขามีช่างเวลาที่ได้สื่อเรื่องราวของตัวเองออกมา มันเป็นเรื่องราวของผู้คนจริงๆ เหตุกาณ์จริงๆ และยังแสดงให้เห็นว่าผู้กำกับได้รับอิสระทางความคิดในการที่จะสร้างผลงาน เช่นนี้ออกมา ใขณะเดียวกันมันก็สื่อถึงความมีอารมณ์ขันของคนอังกฟษได้อย่างดีอีกด้วย นี่แหละมันบ่งบอกเอกลักษณ์ของความเป็นอังกฤษเลย
The Chinese ceremony had so much less information and it wasn’t even real. It wasn’t only about the little girl who was miming – which was an injury to her and the girl whose voice was used – but that symbolically showed the nation’s future. You can’t trust or rely on individuals or the state’s efforts.
ในพิธีเปิดที่ปักกิ่งนั้น มีสาระน้อยมากๆ และไม่ได้เป็นสาระที่เป็นจริงด้วยซ้ำไป มันไม่ใช่แค่เรื่องราวลวงโลกที่เด็กหญิงออกมาร้องลิปซิงค์เท่านั้น นอกจากมันจะกลายเป็นความเสื่อมเสียไปที่เด็กสองคนแล้ว ก็ยังเป็นสัญลักษณ์ที่บ่งบอกถึงอนาคนของชาติ คุณไม่สามารถเชื่อถืออะไรได้ทั้งเรื่องในระดับบุคคล หรือเรื่องที่รัฐจัดมาให้ก็ตาม
หมายเหตุจากผู้แปล: ในพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิกเกมส์ ที่ปักกิ่ง ปี 2008 มีเด็กน้อยออกมาร้องเพลงชาติได้เพราะมาก และมันทำให้เธอดังไปทั่วโลกในชั่วข้ามคืน แต่ไม่มี่วันต่อมาก็ปรากกความจริงว่า แท้จริงแล้วม่ใช่เสียงของเธอ แต่เป็นเสียงของเด็กหญิงอีกคนหนึ่ง เนื่องจากคณะกรรมการจัดพิธเห็นว่าเด็กที่เสียงเพราะนั้นถึงจะหน้าตาน่ารัก แต่ก็มีฟันที่เก จึงเฟ้นหาเด็กหน้าตาดีเพอร์เฟคมาเข้าฉากแทน ทั้งๆที่เธอซ้อมร้องมาเป็นปีๆ
In London there were more close-ups – it didn’t show the big formations. It had the human touch. In Zhang Yimou’s opening ceremony there was almost none of that. You could not push into a person’s face and see the human experience. What I liked most with this was that it always came back to very personal details. And that’s what makes it a nation you can trust; you see the values there. Anyone who watched it would have a clear understanding of what England is.
ในพิธีเปิดที่ลอนดอน มันเป็นเรื่องราวที่เจาะลึกลงไปมากกว่า, ไม่ได้เป็นการแสดงที่โชว์รูปแบบความพร้อมเพรียง แต่มันเป็นเรื่องราวที่ประทับในความรู้สึกผู้คน ซึ่่งในพิธีเปิดที่จีนแทบจะหาแบบนี้ไม่ได้เลย คนดูจะไม่สามารถมองลงไปไปที่ใครสักคน เพื่อมองประสพการณ์ของผู้คนโดยรวมได้ สิ่งที่ฉันชอบมาที่ลอนดอนนี่ก็คือ การที่เรื่องราวที่ดำเนินไปจะย้อนกลับมาอธิบายสิ่งทีเป็นรายละเอียดด้านลึกๆ ของผู้คนในอังกฤษ และนั้นเป็นอะไรที่รวมกันเป็นชาติที่มีความเชื่อถือได้ คุณจะมองออกถึงคุณค่าที่มีอยู่ในนั้น ใครก็ตามที่ได้ดูก็จะเกิดความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งว่าความเป็นอังกฤษมันคือ อะไร
มันก็คือโจมตีนั่นล่ะ จีนน่ะจัดได้ดีที่สุดในโลกแล้ว ทำแบบที่อังกฤษทำที่ไหนก็ทำได้ ถ้าจีนไม่ทำให้เนียนคือทำแบบอังกฤษก็ทำได้ ลอนดอนดูแล้วไม่ได้สัมผัศจุดพีคเหมือนปักกิ่งเลย ภูมิใจในความเป็นเอเชียมากกกกก
ตอบลบด้วยวิธีการคิดที่แตกต่างกัน เป็นสาเหตุให้มองกันคนละมุมน่ะครับ ปกติตะวันตกกับตะวันออก มีสิ่งที่แตกต่างกันในปรัชญาเชิงลึกอย่างมากอยู่แล้วครับ
ตอบลบ